(๖ วัน ๖ คืน)
สังคะโห,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราหะห์เข้ากันได้กับธรรมประเภทเดียวกัน
ประดุจล้อพารถเคลื่อนไปฉะนั้น, [กองรูป (รูปขันธ์) เข้ากันได้กับรูปขันธ์
เข้ากันด้กับอายตนะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ (เว้นอายตนะใจ) เข้ากันได้กับธาตุ (เว้นมโนธาตุ
วิญญาณธาตุทั้ง ๖) ]
อะสังคะโห,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันไม่ได้กับธรรมประเภทเดียวกัน
ประดุจน้ำมันกับน้ำฉะนั้น, [กองรูป (รูปขันธ์) เข้ากันไม่ได้กับนามขันธ์ ๔
คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เข้ากันไม่ได้กับอายตะนะ
คือ ใจเข้ากันไม่ได้กับนามธาตุ ๗ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ, อากาศธาตุ
วิญญาณธาตุ (ควรรู้อะไรก็ได้) มโนวิญญาณธาตุ (อากาศที่เป็นช่องว่างมีในกาย)]
สังคะหิเตนะ,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราห์เข้ากันได้กับธรรมประเภทเดียวกัน
อย่างใดอย่างหนึ่ง ธรรมที่เป็นรูป ย่อมเข้ากันได้กับอายตนะที่เป็นรูป
ธรรมที่เป็นนาม ย่อมเข้ากันได้กับอายตนะ ธาตุที่เป็นนาม ดังนี้,
อะสังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันไม่ได้กับธรรมประเภทอื่น
ธรรมที่เป็นรูปย่อมเข้ากันไม่ได้กับอายตนะที่เป็นนาม
ธรรมที่เป็นรูปย่อมเข้ากันไม่ได้กับนามขันธ์ ๔
ธรรมที่เป็นรูปย่อมเข้ากันไม่ได้กับนามธาตุ ๘ ดังนี้
อะสังคะหิเตนะ,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันไม่ได้กับธรรมสมุทยสัจจะ
มัคคะสัจจะ ด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์,
สังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันได้กับธรรมอื่น ๆ โดยอายตนะ
สงเคราะห์ ธาตุสงเคราะห์ เว้นธรรมที่เป็นอสังขตะ คือ พระนิพพาน,
สังคะหิเตนะ,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันได้กับสมุทย สัจจะมัคคะสัจจะ
โดยการจัดประเภทเข้ากันทางขันธ์ อายตนะ ธาตุ,
สังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันได้กับธรรมอื่น ๆ
โดยอายตนะสงเคราะห์ ธาตุสงเคราะห์ เว้นธรรมที่เป็นอสังขตะ
คือ พระนิพพาน,
อะสังคะหิเตนะ,
ธรรมมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันไม่ได้กับธรรมสมุทยสัจจะ
มัคคสัจจะด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์,
อะสังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากับสิ่งหนึ่งไม่ได้แล้ว
ย่อมเข้ากับสิ่งอื่นไม่ได้ด้วย,
สัมปะโยโค,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด ประกอบกันได้ คือ เกิดดับพร้อมกัน
ย่อมอยู่ร่วมกันได้,
วิปปะโยโค,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด ประกอบกันไม่ได้ คือ เกิดดับไม่พร้อมกัน
ย่อมพลัดพราก นามขันธ์ อายตนะ คือ ใจ วิญญาณธาตุทั้ง ๗
สัมปะยุตเตนะ,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด ประกอบกันได้ คือ เกิดดับพร้อมกัน,
วิปปะยุตตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด มีการพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน,
วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด การอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน,
อะสังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่านั้นจัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์กันไม่ได้ ดังนี้,
สังคะโห,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราหะห์เข้ากันได้กับธรรมประเภทเดียวกัน
ประดุจล้อพารถเคลื่อนไปฉะนั้น, [กองรูป (รูปขันธ์) เข้ากันได้กับรูปขันธ์
เข้ากันด้กับอายตนะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ (เว้นอายตนะใจ) เข้ากันได้กับธาตุ (เว้นมโนธาตุ
วิญญาณธาตุทั้ง ๖) ]
อะสังคะโห,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันไม่ได้กับธรรมประเภทเดียวกัน
ประดุจน้ำมันกับน้ำฉะนั้น, [กองรูป (รูปขันธ์) เข้ากันไม่ได้กับนามขันธ์ ๔
คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เข้ากันไม่ได้กับอายตะนะ
คือ ใจเข้ากันไม่ได้กับนามธาตุ ๗ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ, อากาศธาตุ
วิญญาณธาตุ (ควรรู้อะไรก็ได้) มโนวิญญาณธาตุ (อากาศที่เป็นช่องว่างมีในกาย)]
สังคะหิเตนะ,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราห์เข้ากันได้กับธรรมประเภทเดียวกัน
อย่างใดอย่างหนึ่ง ธรรมที่เป็นรูป ย่อมเข้ากันได้กับอายตนะที่เป็นรูป
ธรรมที่เป็นนาม ย่อมเข้ากันได้กับอายตนะ ธาตุที่เป็นนาม ดังนี้,
อะสังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันไม่ได้กับธรรมประเภทอื่น
ธรรมที่เป็นรูปย่อมเข้ากันไม่ได้กับอายตนะที่เป็นนาม
ธรรมที่เป็นรูปย่อมเข้ากันไม่ได้กับนามขันธ์ ๔
ธรรมที่เป็นรูปย่อมเข้ากันไม่ได้กับนามธาตุ ๘ ดังนี้
อะสังคะหิเตนะ,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันไม่ได้กับธรรมสมุทยสัจจะ
มัคคะสัจจะ ด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์,
สังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันได้กับธรรมอื่น ๆ โดยอายตนะ
สงเคราะห์ ธาตุสงเคราะห์ เว้นธรรมที่เป็นอสังขตะ คือ พระนิพพาน,
สังคะหิเตนะ,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันได้กับสมุทย สัจจะมัคคะสัจจะ
โดยการจัดประเภทเข้ากันทางขันธ์ อายตนะ ธาตุ,
สังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันได้กับธรรมอื่น ๆ
โดยอายตนะสงเคราะห์ ธาตุสงเคราะห์ เว้นธรรมที่เป็นอสังขตะ
คือ พระนิพพาน,
อะสังคะหิเตนะ,
ธรรมมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากันไม่ได้กับธรรมสมุทยสัจจะ
มัคคสัจจะด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์,
อะสังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด สงเคราะห์เข้ากับสิ่งหนึ่งไม่ได้แล้ว
ย่อมเข้ากับสิ่งอื่นไม่ได้ด้วย,
สัมปะโยโค,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด ประกอบกันได้ คือ เกิดดับพร้อมกัน
ย่อมอยู่ร่วมกันได้,
วิปปะโยโค,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด ประกอบกันไม่ได้ คือ เกิดดับไม่พร้อมกัน
ย่อมพลัดพราก นามขันธ์ อายตนะ คือ ใจ วิญญาณธาตุทั้ง ๗
สัมปะยุตเตนะ,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด ประกอบกันได้ คือ เกิดดับพร้อมกัน,
วิปปะยุตตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด มีการพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน,
วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่าใด การอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน,
อะสังคะหิตัง,
ธรรมทั้งหลายเหล่านั้นจัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์กันไม่ได้ ดังนี้,
..........................................
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น