(๖ วัน เทพพรหมสำเร็จ ๖ โกฎิ)
ฉะ ปัญญัตติโย,
พระผู้มีพระภาคเจ้าเทศนาด้วยความคัมภีร์
พระปุคคละบัญญัติ ๖ ประการ คือ,
ขันธะปัญญัตติ,
ขันธ์อันเป็นที่ตั้งของรูปธรรมแลนามธรรม
- รูปขันธ์ ขันธ์อันเป็นที่ตั้งของร่างกาย มีความเสื่อมไป
สลายไป เพราะเหรุปัจจัยต่าง ๆ
- เวทนาขันธ์ ขันธ์อันเป็นที่ตั้งของเวทนา (เสวยอารมณ์ ความรู้สึก)
* สุขเวทา ความรู้สึกสุขสบาย (กาย)
* ทุกขะเวทนา ความรู้สึกไม่สบาย (กาย)
* โสมมะนัสเวทนา ความสบายใจ
* โทมนัสเวทนา ความไม่สบายใจ
* อะทุกขะมสุขเวทนา ความรู้สึกไม่สุขไม่ทุกข์ (อุเบกขา)
- สัญญาขันธ์ ขันธ์อันเป็นของความจำได้ในรูป เสียง กลิ่น
รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ความหมายรู้ ในรูป เสียง กลิ่น รส
สัมผัสที่เกิดกับใจว่า นั่นเขียว ขาว ดำ,
- สังขารขันธ์ ขันธ์อันเป็นสิ่ที่ถูกปัจจัยปรุงแต่งให้ดีหรือชั่ว
* กายสังขาร สภาพปรุงแต่งการกระทำทางกาย
* วจีสังขาร สภาพปรุงแต่งการกระทำทางวาจา
* จิตตะสังขาร สภาพปรุงแต่งการกระทำทางใจ (มโนสังขาร)
- วิญญาณขันธ์ ขันธ์อันเป็นความรู้แจ้งในอารมณ์
เมื่ออายตนะภายนอกแลภายในกระทบกันด้วย
* จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา (เห็น)
* โสตะวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู (ได้ยิน)
* ฆานะวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก (ได้กลิ่น)
* ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น (รู้รส)
* กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย (รู้สิ่งต้องกาย)
* มะโนวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางใจ (รู้ เรื่องในใจ)
อายะตะนะ ปัญญัตติ,
บัญญัติที่เนื่อด้วยอายตนะภายใน อายตนะภายนอก
- อายตนะภายใน คือ
* จักขายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางตา (จักขุ)
* โสตายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางหู (โสตะ)
* ฆานายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางจมูก (ฆานะ)
* ชิวหายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางลิ้น (ชิวหา)
* กายายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางกาย (กายะ)
* มนายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางใจ (มโน)
- อายตนะภายนอก คือ
* รูปายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางรูป
* สัททายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางเสียง
* คันธายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางกลิ่น
* รสายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางรส
* โผฏฐัพพายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางกาย
* ธัมมายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจ)
ธาตุปัญญัตติ,
บัญญัติบุคคล โดยสภาวะเป็นอยู่เอง ตามธรรมดาของเหตุปัจจัย
ธาตุ ๔ แลธาตุ ๖ คือ
- ปะฐะวีธาตุ สภาวะที่แผ่ไป มีความเข้มแข็ง คือ ดิน
- อาดปธาตุ สภาวะที่เอิบอาบดูดซึม คือ น้ำ
- เตโชธาตุ สภาวะที่ทำให้ร้อน คือ ไฟ
- วาโยธาตุ สภาวะที่ทำให้เคลื่อนไหว คือ ลม
- อากาศธาตุ สภาวะที่ทำให้เกิดความว่าง คือ อากาศ (ปริเฉทรูป)
- วิญญาณธาตุ สภาวะที่รู้แจ้งอารมณ์ คือ ธาตุรู้
แลว่าโดยสภาวะที่เป็นธาตุ ๑๘ คือ
ฉะ ปัญญัตติโย,
พระผู้มีพระภาคเจ้าเทศนาด้วยความคัมภีร์
พระปุคคละบัญญัติ ๖ ประการ คือ,
ขันธะปัญญัตติ,
ขันธ์อันเป็นที่ตั้งของรูปธรรมแลนามธรรม
- รูปขันธ์ ขันธ์อันเป็นที่ตั้งของร่างกาย มีความเสื่อมไป
สลายไป เพราะเหรุปัจจัยต่าง ๆ
- เวทนาขันธ์ ขันธ์อันเป็นที่ตั้งของเวทนา (เสวยอารมณ์ ความรู้สึก)
* สุขเวทา ความรู้สึกสุขสบาย (กาย)
* ทุกขะเวทนา ความรู้สึกไม่สบาย (กาย)
* โสมมะนัสเวทนา ความสบายใจ
* โทมนัสเวทนา ความไม่สบายใจ
* อะทุกขะมสุขเวทนา ความรู้สึกไม่สุขไม่ทุกข์ (อุเบกขา)
- สัญญาขันธ์ ขันธ์อันเป็นของความจำได้ในรูป เสียง กลิ่น
รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ความหมายรู้ ในรูป เสียง กลิ่น รส
สัมผัสที่เกิดกับใจว่า นั่นเขียว ขาว ดำ,
- สังขารขันธ์ ขันธ์อันเป็นสิ่ที่ถูกปัจจัยปรุงแต่งให้ดีหรือชั่ว
* กายสังขาร สภาพปรุงแต่งการกระทำทางกาย
* วจีสังขาร สภาพปรุงแต่งการกระทำทางวาจา
* จิตตะสังขาร สภาพปรุงแต่งการกระทำทางใจ (มโนสังขาร)
- วิญญาณขันธ์ ขันธ์อันเป็นความรู้แจ้งในอารมณ์
เมื่ออายตนะภายนอกแลภายในกระทบกันด้วย
* จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา (เห็น)
* โสตะวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู (ได้ยิน)
* ฆานะวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก (ได้กลิ่น)
* ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น (รู้รส)
* กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย (รู้สิ่งต้องกาย)
* มะโนวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางใจ (รู้ เรื่องในใจ)
อายะตะนะ ปัญญัตติ,
บัญญัติที่เนื่อด้วยอายตนะภายใน อายตนะภายนอก
- อายตนะภายใน คือ
* จักขายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางตา (จักขุ)
* โสตายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางหู (โสตะ)
* ฆานายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางจมูก (ฆานะ)
* ชิวหายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางลิ้น (ชิวหา)
* กายายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางกาย (กายะ)
* มนายะตะนะ เครื่องรับรู้ทางใจ (มโน)
- อายตนะภายนอก คือ
* รูปายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางรูป
* สัททายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางเสียง
* คันธายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางกลิ่น
* รสายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางรส
* โผฏฐัพพายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางกาย
* ธัมมายะตะนะ สิ่งที่ถูกรู้ทางธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจ)
ธาตุปัญญัตติ,
บัญญัติบุคคล โดยสภาวะเป็นอยู่เอง ตามธรรมดาของเหตุปัจจัย
ธาตุ ๔ แลธาตุ ๖ คือ
- ปะฐะวีธาตุ สภาวะที่แผ่ไป มีความเข้มแข็ง คือ ดิน
- อาดปธาตุ สภาวะที่เอิบอาบดูดซึม คือ น้ำ
- เตโชธาตุ สภาวะที่ทำให้ร้อน คือ ไฟ
- วาโยธาตุ สภาวะที่ทำให้เคลื่อนไหว คือ ลม
- อากาศธาตุ สภาวะที่ทำให้เกิดความว่าง คือ อากาศ (ปริเฉทรูป)
- วิญญาณธาตุ สภาวะที่รู้แจ้งอารมณ์ คือ ธาตุรู้
แลว่าโดยสภาวะที่เป็นธาตุ ๑๘ คือ
..........................
(ยังมีต่ออีก)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น